การประชุมวิชาการน้ำบาดาลแห่งชาติ ครั้งที่ 1

(วันที่ 20 - 22 กันยายน 2566 )
กำหนดการ: วันพุธที่ 20 กันยายน 2566 | ณ ห้องแคทรียา โรงแรมรามา การ์เด้นส์ กรุงเทพมหานคร
เวลา กิจกรรม
08.30-09.00 ลงทะเบียน
09.00-10.30 พิธีเปิด* กล่าวเปิดงานโดย
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กล่าวรายงานโดย
นายธัญญา เนติธรรมกุล อธิบดีกรมทรัพยากรน้ำบาดาล
10.30-10.45 รับประทานอาหารว่าง
10.45-12.00 เสวนาหัวข้อ “น้ำบาดาลเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน”
โดย
นายสิทธิศักดิ์ มั่นอยู่
ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านนโยบายและแผน (งานทรัพยากรน้ำบาดาล) กรมทรัพยากรน้ำบาดาล
นายชัยพร ศิริพรไพบูลย์
อดีตผู้ตรวจราชการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
รศ.ดร. สุจริต คูณธนกุลวงศ์
อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมแหล่งน้ำ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
อาจารย์ศศิน เฉลิมลาภ
ที่ปรึกษากรมทรัพยากรน้ำบาดาล
12.00-13.00 รับประทานอาหารกลางวัน
13.30-14.00 การบรรยาย ในหัวข้อ “แนวทางการสำรวจและประเมินศักยภาพน้ำบาดาล ในยุคการเปลี่ยนผ่านเทคโนโลยี” ผู้อำนวยการสำนักสำรวจและประเมินศักยภาพน้ำบาดาล
13.00-13.30 การบรรยาย ในหัวข้อ “นวัตกรรมการพัฒนาน้ำบาดาลเพื่อความยั่งยืน” ผู้อำนวยการสำนักพัฒนาน้ำบาดาล
14.00-14.30 การบรรยาย ในหัวข้อ “แนวทางการอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรน้ำบาดาล: ความท้าทายและโอกาส” ผู้อำนวยการสำนักอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรน้ำบาดาล
14.30-14.45 รับประทานอาหารว่าง
14.45-15.15 การบรรยายพิเศษ ในหัวข้อ “Groundwater Governance in Rapidly Urbanizing Areas of the Lower Mekong Region” Prof. Sangam Shrestha Asian Institute of Technology (AIT)
15.15-15.45 การบรรยายพิเศษ ในหัวข้อ “Groundwater Abstraction and Decision Making in Practice” (Online) Dr. Troels Norvin Vilhelmsen NIRAS, Denmark
15.45-16.15 การบรรยายพิเศษ ในหัวข้อ “Groundwater Management: Lessons learn from the UK” (Online) ผู้แทนจาก Environment Agency สหราชอาณาจักร (รอการยืนยัน)
16.15-16.30 ถาม-ตอบ / สรุปการประชุม

หมายเหตุ: กำหนดการอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม * ผู้นำเสนอผลงานวิชาการประเภทโปสเตอร์ และเจ้าหน้าที่ประจำบอร์ดนิทรรศการของแต่ละสำนัก/กลุ่ม/กอง โปรดเตรียมนำเสนอผลงานบริเวณด้านหน้า โปสเตอร์และบอร์ดนิทรรศการของท่าน ในช่วงพิธีเปิด เวลา 08.30 – 10.45 น.

กำหนดการ: วันพฤหัสบดีที่ 21 กันยายน 2566 | ณ ห้องแคทรียา โรงแรมรามา การ์เด้นส์ กรุงเทพมหานคร
เวลา กิจกรรม
08.30-09.00 ลงทะเบียน
09.00-10.30 เสวนาหัวข้อ “ทิศทางการเติมน้ำใต้ดินของประเทศไทย”
โดย
ดร. ทัศนีย์ เนตรทัศน์
ผู้อำนวยการสำนักอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรน้ำบาดาล กรมทรัพยากรน้ำบาดาล /
กรรมการบริหารสมาคมอุทกธรณีวิทยาไทย
ผศ.ดร. โพยม สราภิรมย์
ผู้อำนวยการสถาบันทรัพยากรน้ำใต้ดิน มหาวิทยาลัยขอนแก่น /
กรรมการบริหารสมาคมอุทกธรณีวิทยาไทย
นายบรรจง พรมจันทร์
อดีตผู้อำนวยการสำนักทรัพยากรน้ำบาดาล เขต 3 สระบุรี /
กรรมการบริหารสมาคมอุทกธรณีวิทยาไทย
นางวาสนา สาทถาพร
ผู้อำนวยการส่วนแผนที่และภูมิสารสนเทศ สำนักสำรวจและประเมินศักยภาพน้ำบาดาล /
กรรมการบริหารและเลขานุการสมาคมอุทกธรณีวิทยาไทย
นางสาวรัชชิตา สาริมานนท์
ผู้จัดการฝ่ายสำรวจและพัฒนาน้ำทรัพยากรน้ำบาดาล บริษัท จีโอ แอนด์ ซีวิล เซอร์วิส จำกัด /
กรรมการบริหารสมาคมอุทกธรณีวิทยาไทย
10.30-11.00 รับประทานอาหารกลางวัน การนำเสนอผลงานวิชาการ รูปแบบโปสเตอร์ (Poster Presentation)
11.00-11.20 การนำเสนอผลงานวิชาการ (Oral Presentation) หัวข้อที่ 1 การพัฒนาน้ำบาดาลเพื่อความยั่งยืน
A01:
แนวคิดในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีการขุดเจาะแบบแนวนอน Horizontal Directional Drilling (HDD) สำหรับการพัฒนาน้ำบาดาลในอนาคต
โดย รณชัย อินทิยศ
11.20-11.40 หัวข้อที่ 1 การพัฒนาน้ำบาดาลเพื่อความยั่งยืน
A02:
การศึกษารูปแบบการพัฒนาน้ำบาดาล เพื่อแก้ไขปัญหาความขาดแคลนน้ำในพื้นที่ขอบแอ่งเจ้าพระยาตอนล่าง กรณีศึกษาพื้นที่ตำบลตลิ่งชัน อำเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี
โดย วณิชชา ดำมินเศษ
11.40-12.00 หัวข้อที่ 1 การพัฒนาน้ำบาดาลเพื่อความยั่งยืน
A03:
การกำหนดระยะห่างระหว่างบ่อเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน พื้นที่บ้านโนนสวาท หมู่ที่ 2 ตำบลหนองเป็ด อำเภอเมือง จังหวัดยโสธร
โดย จักรภัทร ปานบัว
12.00-13.00 รับประทานอาหารกลางวัน
13.00-13.20 การนำเสนอผลงานวิชาการ (Oral Presentation) หัวข้อที่ 1 การพัฒนาน้ำบาดาลเพื่อความยั่งยืน
A04:
การสำรวจธรณีฟิสิกส์เพื่อพัฒนาน้ำบาดาลโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
พื้นที่มูลนิธิชัยพัฒนา (ศูนย์ผลิตและกระจายพันธุ์สัตว์) บ้านดงพระพร หมู่ที่ 15 ตำบลป่างิ้ว อำเภอเวียงป่าเป้า จังหวัดเชียงราย
โดย ไกรศร สังฆจันทร์
13.00-13.20
A05:
การสำรวจชั้นน้ำบาดาลที่มีศักยภาพน้ำบาดาลที่เหมาะสม เพื่อการพัฒนาแหล่งน้ำบาดาล พื้นที่เกาะหลีเป๊ะ
โดย กนต พิริยปุณกร
13.40-14.00
A06:
การศึกษาสำรวจเพื่อพัฒนาแหล่งน้ำบาดาลสำหรับแก้ไขปัญหาการขาดแคลนน้ำในพื้นที่น้ำเค็ม จังหวัดนครราชสีม
โดย ชลธิชา นิ่มรักษา
14.00-14.20 หัวข้อที่ 2 เทคโนโลยีการสำรวจและอนุรักษ์ทรัพยากรน้ำบาดาล เพื่อเสริมสร้างความมั่นคงด้านน้ำ
B07:
การประมาณการเปลี่ยนแปลงปริมาณน้ำสะสมทั้งหมดและการเปลี่ยนแปลงปริมาณน้ำใต้ดินสะสมโดยใช้ GRAVITY RECOVERY AND CLIMATE EXPERIMENT (GRACE) เพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำอย่างยั่งยืนในประเทศไทย
โดย ศศินท์ จิระศิริรักษ์
14.20-14.40
B01:
อัตราการเติมน้ำใต้ดิน และปัจจัยที่มีผลกระทบต่อความสามารถในการเติมน้ำของระบบเติมน้ำใต้ดินระดับตื้น
โดย อัญชลี พงษ์สถิตพัฒน์
14.40-15.00
B02:
การทดสอบประสิทธิภาพบ่อเติมน้ำใต้ดินระดับตื้น พื้นที่ตำบลเนินปอ อำเภอสามง่าม จังหวัดพิจิตร และพื้นที่ตำบลคลองลานพัฒนา ตำบลคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร
โดย จิราพร เนื่องไชยศ
15.00-15.20
B03:
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการเปลี่ยนแปลงแรงดันน้ำใต้ดินและอัตราการทรุดตัวของแผ่นดินจากเทคนิคอนุกรมเวลา InSAR
โดย อนิรุทธ์ ลดาวดี
15.20-15.50 รับประทานอาหารว่าง การนำเสนอผลงานวิชาการ รูปแบบโปสเตอร์ (Poster Presentation)
15.50-16.10 การนำเสนอผลงานวิชาการ (Oral Presentation) หัวข้อที่ 3 การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำบาดาลอย่างยั่งยืน
C01:
การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำบาดาลอย่างยั่งยืน ตำบลโพธิ์ตากและตำบลนาทราย อำเภอเมืองนครพนม จังหวัดนครพนม
โดย เกศรินทร์ ศิริ
16.10-16.30
C03:
การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำบาดาลอย่างยั่งยืน ภายใต้โครงการศึกษา สำรวจศักยภาพ และการบริหารจัดการน้ำบาดาลแบบผสมผสาน เพื่อการอุปโภค บริโภค และการเกษตร ตำบลเชียงเครือ อำเภอเมืองสกลนคร จังหวัดสกลนคร
โดย ศิวัช ดวงศร

หมายเหตุ:

1. กำหนดการอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม
2. ผู้นำเสนอควรรายงานตัวกับผู้ช่วยประธานวิพากษ์ผลงานวิชาการในห้องประชุม ประมาณ 5-10 นาที ก่อนเริ่มนำเสนอผลงานในแต่ละ session

กำหนดการ: วันศุกร์ที่ 22 กันยายน 2566 | ณ ห้องแคทรียา โรงแรมรามา การ์เด้นส์ กรุงเทพมหานคร
เวลา กิจกรรม
08.30-09.00 ลงทะเบียน
09.00-09.30 การบรรยายพิเศษ ในหัวข้อ “Karst aquifers management in Southeastern USA to delineate springs and caves recharge zones for the protection of endangered species” (Online) Mr. Gheorghe Ponta, International Atomic Energy Agency, USA
09.30-09.50 การนำเสนอผลงานวิชาการ (Oral Presentation) หัวข้อที่ 3 การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำบาดาลอย่างยั่งยืน
C04:
การประเมินความเสี่ยงของแหล่งน้ำบาดาลประเทศไทยต่อการปนเปื้อนมลพิษ
โดย วาสนา สาทถาพร
09.50-10.10
C05:
สถานการณ์น้ำบาดาลและน้ำผิวดิน กับปัญหาที่เป็นไปได้ในประเทศไทย
โดย ประภาวดี โอตรวรรณะ
10.10-10.30
C06:
การประยุกต์ใช้อากาศยานไร้คนขับ (UAV) เพื่อสร้างแบบจำลองพื้นผิวดิจิทัลสำหรับวางผังก่อสร้างระบบประปาบาดาลขนาดใหญ่ ในพื้นที่ตำบลโคกขาม อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร
โดย กิติพงศ์ ทองเชื้อ
10.30-11.00 รับประทานอาหารว่าง การนำเสนอผลงานวิชาการ รูปแบบโปสเตอร์ (Poster Presentation)
11.00-11.20 การนำเสนอผลงานวิชาการ (Oral Presentation) หัวข้อที่ 2 เทคโนโลยีการสำรวจและอนุรักษ์ทรัพยากรน้ำบาดาล เพื่อเสริมสร้างความมั่นคงด้านน้ำ
B04:
การแพร่กระจายของสารอินทรีย์ระเหยง่ายชนิดไวนิลคลอไรด์ (Vinyl Chloride) ในชั้นน้ำบาดาลระดับตื้น บริเวณพื้นที่ใกล้โรงงาน จังหวัดฉะเชิงเทรา
โดย เกษราภรณ์ สุนทรพฤกษ์
11.20-11.40
B05:
การศึกษาสภาพอุทกธรณีวิทยาและอุทกธรณีเคมีในชั้นให้น้ำหินตะกอนภูเขาไฟ (Pyroclastic rocks) พื้นที่ตำบลพัฒนานิคม อำเภอพัฒนานิคม จังหวัดลพบุรี
โดย เพ็ญลดา บุญสงกา
11.40-12.00
B06:
การศึกษาสภาพอุทกธรณีวิทยา และอุทกธรณีเคมีในหินภูเขาไฟ พื้นที่ตำบลสะแกราบ อำเภอโคกสำโรง จังหวัดลพบุรี
โดย วนิดา เพี้ยมแตง
12.00-13.00 รับประทานอาหารกลางวัน
13.00-13.20 การนำเสนอผลงานวิชาการ (Oral Presentation) หัวข้อที่ 3 การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำบาดาลอย่างยั่งยืน
C07:
การบริหารจัดการน้ำบาดาล เพื่อการเกษตรในพื้นที่หาน้ำยาก บ้านไสหรก หมู่ 10 ตำบลควนเมา อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง
โดย ณรงค์พนธ์ สำแดง
13.20-13.40
C08:
กระบวนการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำบาดาลแบบมีส่วนร่วมให้ใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน กรณีศึกษาพื้นที่ตำบล สระลงเรือ อำเภอห้วยกระเจา จังหวัดกาญจนบุรี
โดย ณิชารีย์ คำวอน
13.40-14.00
C09:
การกำหนดระดับความเสี่ยงของบ่อน้ำบาดาล ที่อาจกระทำผิดตามพระราชบัญญัติน้ำบาดาล พ.ศ. 2520 และที่แก้ไขเพิ่มเติม: กรณีศึกษาจังหวัดสุโขทัย
โดย วุฒิกร พิบำรุง
14.00-14.20
C10:
เครื่องวัดปริมาณน้ำบาดาลแบบดิจิทัล นวัตกรรมใหม่น้ำบาดาล
โดย ธนิต จีนกูล
14.20-14.40
C11:
Badan4Thai และ Database management
โดย อานนท์ สิงห์ล้ำเลิศ
14.40-15.10 รับประทานอาหารว่าง การนำเสนอผลงานวิชาการ รูปแบบโปสเตอร์ (Poster Presentation)
15.10-15.30 การนำเสนอผลงานวิชาการ (Oral Presentation) หัวข้อที่ 1 การพัฒนาน้ำบาดาลเพื่อความยั่งยืน
A07:
การศึกษา สำรวจหาพื้นที่ที่มีศักยภาพน้ำบาดาลสูง เพื่อเสริมความมั่นคงด้านน้ำ พื้นที่ตำบลสะแกราช อำเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา
โดย อรวรรณ สามารถ
15.30-15.50
A08:
การคัดเลือกชั้นน้ำบาดาลที่มีศักยภาพน้ำบาดาลที่เหมาะสม ในการพัฒนาแหล่งน้ำบาดาล พื้นที่โครงการฟาร์มตัวอย่าง ในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ (บ้านโคกปาฆาบือซา) ตำบลกะลุวอ อำเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส
โดย ดาวเรือง ศุกรวัติ
15.50-16.10
A09:
การศึกษาปริมาณซิลิก้าในน้ำบาดาลบริเวณพื้นที่กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอันดามันด้วยวิธี Spectrophotometry
โดย นวลปราง นวลอุไร
16.10-16.30 ปิดประชุม

หมายเหตุ:

1. กำหนดการอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม
2. ผู้นำเสนอควรรายงานตัวกับผู้ช่วยประธานวิพากษ์ผลงานวิชาการในห้องประชุม ประมาณ 5-10 นาที ก่อนเริ่มนำเสนอผลงานในแต่ละ session

การนำเสนอผลงานวิชาการประเภทโปสเตอร์ | บริเวณด้านหน้า ห้องแคทรียา โรงแรมรามา การ์เด้นส์ กรุงเทพมหานคร
วันและเวลาการนำเสนอ
วันที่ 20 กันยายน 2566
ช่วงพิธีเปิด เวลา 08.30 – 10.45 น.
วันที่ 21 กันยายน 2566
ช่วงที่ 1: เวลา 10.30 – 11.00 น. และช่วงที่ 2: เวลา 15.20 – 15.50 น.
วันที่ 22 กันยายน 2566
ช่วงที่ 1: เวลา 10.30 – 11.00 น. และช่วงที่ 2: เวลา 14.40 – 15.10 น.
รหัส หัวข้อ ชื่อเรื่อง ผู้นำเสนอ
A01-P 1 โครงการจัดหาน้ำบาดาลขนาดใหญ่แก้ปัญหาภัยแล้งอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สำนักทรัพยากรน้ำบาดาล เขต 10 เกศรินทร์ ศิริ
A02-P 1 การสำรวจและพัฒนาแหล่งน้ำบาดาลในพื้นที่ที่มีความหลากหลายทางอุทกธรณีวิทยา เพื่อพัฒนาต่อยอดแหล่งน้ำต้นทุนขนาดใหญ่แก้ไขปัญหาการขาดแคลนน้ำสำหรับการเกษตรกรรม ดาวเรือง ศุกรวัติ
A03-P 1 การศึกษาปริมาณแบเรียมในระบบประปาบาดาลจากโครงการสำรวจตรวจสอบคุณภาพ น้ำบาดาลเพื่ออุปโภคบริโภค ธิระวดี โฆสิตวัน
B02-P 2 แนวทางการศึกษาวิธีเติมน้ำลงสู่ชั้นน้ำใต้ดินที่เหมาะสม ในพื้นที่ลุ่มน้ำห้วยตะเพิน วณิชชา ดำมินเศษ
B03-P 2 การติดตามเฝ้าระวังความเสี่ยงต่อการปนเปื้อนของน้ำบาดาลพื้นที่ทิ้งขยะ บริษัท เอกอุทัย จำกัด (สาขาศรีเทพ) ต.คลองกระจัง อ.ศรีเทพ จ. เพชรบูรณ์ ขวัญ ดอนซุยแป
B04-P 2 การติดตามการปนเปื้อนน้ำใต้ดินบริเวณอ่างเก็บน้ำลุ่มน้ำโจน แห่งที่ 16 จังหวัดฉะเชิงเทรา เมธาวัฒน์ แสนนิล
B05-P 2 การเปรียบเทียบประสิทธิภาพการเติมน้ำใต้ดินระดับตื้นของระบบเติมน้ำใต้ดินผ่านบ่อวงคอนกรีตและระบบเติมน้ำฝนจากหลังคาผ่านบ่อวงคอนกรีต ปราณี รักษาบุญ
B06-P 2 เทคโนโลยีการสำรวจธรณีฟิสิกส์หลุมเจาะขั้นสูง เพื่อการจำแนกชั้นน้ำบาดาลที่แม่นยำและ การประเมินศักยภาพชั้นน้ำบาดาลด้วยเทคโนโลยีนิวเคลียร์แมกเนติกเรโซแนนซ์ สัตยา อินตานำ
C01-P 3 การประเมินศักยภาพน้ำบาดาลเพื่อการบริหารจัดการอย่างยั่งยืนในพื้นที่แอ่งน้ำบาดาลระยอง กันต์กนิษฐ์ ทุมประเสริฐ
C02-P 3 การศึกษาขอบเขตของชั้นให้น้ำตะกอนพื้นที่ลุ่มน้ำคลองใหญ่ อำเภอบ้านค่าย จังหวัดระยอง ธัญญา เพียมูล
C03-P 3 Badan4Thai และ Database management อานนท์ สิงห์ล้ำเลิศ
C04-P 3 การติดตามคุณภาพและปริมาณน้ำในพื้นที่ที่มีการสูบน้ำบาดาลในปริมาณมาก ในลักษณะเป็น กลุ่มบ่อ ในพื้นที่ที่มีความเสี่ยงต่อสารละลายมวลรวมสูง พื้นที่ตำบลศรีแก้ว อำเภอศรีรัตนะ จังหวัดศรีสะเกษ รับขวัญ สายสุวรรณ
C05-P 3 กระบวนการจัดการทรัพยากรน้ำบาดาลแบบมีส่วนร่วมบนพื้นที่สูงอย่างยั่งยืน พื้นที่ศึกษา ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงหนองหอย มณี สายัณห์
C06-P 3 การบริหารจัดการน้ำบาดาลเพื่อการเกษตรแปลงใหญ่บ้านคลองยาง หมู่ 4 ตำบลคลองยาง อำเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัย นิสา กันธิยะ
C07-P 3 การประยุกต์ใช้ระบบภูมิสารสนเทศเพื่อการติดตามสถานการณ์ระดับน้ำบาดาล ในเขตพื้นที่รับผิดชอบ สำนักทรัพยากรน้ำบาดาล เขต 8 (ราชบุรี) ธฤษวรรณ สุพิพัฒนโมลี

หมายเหตุ: กำหนดการอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม

กำหนดการ



วันพุธที่ 20 กันยายน 2566
เวลา กิจกรรม วิทยากร
08.30 – 10.00 น. ลงทะเบียน
10.00 – 10.30 น. พิธีเปิดการประชุม รัฐมนตรีว่าการกระทรวง
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
10.30 – 11.00 น. พักรับประทานอาหารว่าง
11.00 – 11.30 น. Keynote Speaker I รัฐมนตรีว่าการกระทรวง
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
11.30 – 12.00 น. Keynote Speaker II อธิบดีกรมทรัพยากรน้ำบาดาล
12.00 – 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00 – 14.30 น. การเสวนา หัวข้อ “น้ำบาดาลเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน”
  1. รองอธิบดีกรมทรัพยากรน้ำบาดาล (นายสุรินทร์ วรกิจธำรง)
  2. นางสาวสมคิด บัวเพ็ง อดีตอธิบดีกรมทรัพยากรน้ำบาดาล
  3. รองศาสตราจารย์ ดร.สุจริต คูณธนกุลวงศ์ ภาควิชาวิศวกรรมแหล่งน้ำ
    คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  4. อาจารย์ศศิน เฉลิมลาภ ที่ปรึกษากรมทรัพยากรน้ำบาดาล
14.30 – 15.00 น. พักรับประทานอาหารว่าง
15.00 – 15.30 น. การสำรวจและประเมินศักยภาพน้ำบาดาล ผู้อำนวยการสำนักสำรวจและประเมินศักยภาพน้ำบาดาล
15.30 – 16.00 น. การพัฒนาน้ำบาดาล ผู้อำนวยการสำนักพัฒนาน้ำบาดาล
16.00 – 16.30 น. การอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรน้ำบาดาล ผู้อำนวยการสำนักอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรน้ำบาดาล
วันพฤหัสบดีที่ 21 กันยายน 2566
เวลา กิจกรรม วิทยากร
08.30 – 09.00 น. ลงทะเบียน
09.00 – 10.30 น. การเสวนา หัวข้อ “ทิศทางการเติมน้ำ
ใต้ดินของประเทศไทย”
  1. นางสาวทัศนีย์ เนตรทัศน์ ผู้อำนวยการสำนักอนุรักษ์และ
    ฟื้นฟูทรัพยากรน้ำบาดาล
  2. อาจารย์โพยม สราภิรมย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  3. นายบรรจง พรมจันทร์
  4. นางวาสนา สาทถาพร นักธรณีวิทยาชำนาญการพิเศษ
    สำนักสำรวจและประเมินศักยภาพน้ำบาดาล
  5. นางสาวรัชนิตา สาริมานนท์ สมาคมอุทกธรณีวิทยาไทย
10.30 – 11.00 น. พักรับประทานอาหารว่าง
11.00 – 12.00 น. นำเสนอผลงานทางวิชาการ
12.00 – 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00 – 15.00 น. นำเสนอผลงานทาวิชากร
15.00 – 15.30 น. รับประทานอาหารว่าง
15.30 - 16.30 น. นำเสนอผลงานทางวิชาการ
วันศุกร์ที่ 22 กันยายน 2566
เวลา กิจกรรม วิทยากร
08.30 – 09.00 น. ลงทะเบียน
09.00 – 10.30 น. การเสวนา หัวข้อ “แนวทางการพัฒนางานด้านน้ำบาดาล
เพื่อความยั่งยืนจากมุมมองผู้ปฏิบัติ”
  1. นางวาสนา สาทถาพร นักธรณีวิทยาชำนาญการพิเศษ
    สำนักสำรวจและประเมินศักยภาพน้ำบาดาล
  2. นายวีรวัฒน์ ยิ่งยง วิศวกรชำนาญการพิเศษ
    สำนักพัฒนาน้ำบาดาล
  3. นางสาวชรริน ถวิลหวัง นิติกรชำนาญการพิเศษ
    กลุ่มนิติการ
  4. นางสาวพิมพ์ชนก ภู่ประดับ นักวิชาการทรัพยากรธรณีชำนาญการพิเศษ
    สำนักควบคุมกิจการน้ำบาดาล
  5. นายมานพ สาทถาพร นักจัดการงานทั่วไปชำนาญการ
    ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศทรัพยากรน้ำบาดาล
10.30 – 11.00 น. รับประทานอาหารว่าง
11.00 – 12.00 น. การนำเสนอผลงานทางวิชาการ
12.00 – 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00 – 15.00 น. การนำเสนอผลงานทางวิชาการ
15.00 – 15.30 น. รับประทานอาหารว่าง
15.30 - 16.30 น. นำเสนอผลงานวิชาการ/สรุปผลการประชุม
หมายเหตุ กำหนดการสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม