ทรัพยากรน้ำบาดาลจึงมีความสำคัญต่อการดำรงชีวิต กิจกรรมทางเศรษฐกิจ อุตสาหกรรม และสิ่งแวดล้อม ดังนั้น การเสริมสร้างศักยภาพและแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ด้านน้ำบาดาลเป็นสิ่งที่สำคัญอย่างยิ่ง ในการสร้างความเข้มแข็งให้กับบุคลากรด้านน้ำบาดาล เพื่อให้มีสมรรถนะทางวิชาการด้านน้ำบาดาลและด้านอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ให้มีความสามารถในการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล สามารถยกระดับกระบวนทัศน์ และปรับเปลี่ยนทัศนคติของบุคลากรด้านน้ำบาดาลในทุกภาคส่วนให้เกิดพฤติกรรมอันพึงประสงค์ต่อความยั่งยืนในด้านทรัพยากรน้ำบาดาล และทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ก่อให้เกิดความสามารถในการแข่งขันของประเทศอย่างเพียงพอโดยไม่เกินขีดความสามารถในการรองรับของสิ่งแวดล้อม และให้คนในรุ่นต่อไปได้ใช้ประโยชน์ได้ต่อไป
กรมทรัพยากรน้ำบาดาล ได้ตระหนักถึงความสำคัญในการพัฒนาบุคลากรให้มีความเข้มแข็งด้านวิชาการน้ำบาดาล เพื่อให้สามารถปฏิบัติงานตามภารกิจ หน้าที่ของหน่วยงาน นโยบายรัฐบาล แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และแผนยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำของรัฐบาลได้อย่างมีประสิทธิภาพ ก้าวทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมในองค์รวมของประเทศและในระดับระหว่างประเทศ จึงเห็นควรจัดการประชุมวิชาการน้ำบาดาลแห่งชาติ ครั้งที่ 1 ประจำปี พ.ศ. 2566 เพื่อเป็นเวทีสำหรับบุคลากรกรมทรัพยากรน้ำบาดาล นักวิชาการด้านน้ำบาดาล และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ในการนำเสนอผลงานทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ ถ่ายทอดผลงานวิจัย นวัตกรรม โครงการ รวมไปถึงการเสริมสร้างศักยภาพและ องค์ความรู้ทางวิชาการให้แก่บุคลากรกรมทรัพยากรน้ำบาดาล นักวิชาการด้านน้ำบาดาล และผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ซึ่งจะช่วยเพิ่มพูนทักษะของบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการน้ำบาดาลของประเทศ อันจะส่งผลต่อการพัฒนาระบบการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำบาดาลของประเทศไทย ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุดต่อประเทศและสังคมโดยรวม
เพื่อเป็นเวทีสำหรับบุคลากรกรมทรัพยากรน้ำบาดาล นักวิชาการด้านน้ำบาดาล และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ในการนำเสนอผลงานทางวิชาการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ ถ่ายทอดผลงานวิจัย นวัตกรรม โครงการ และข้อมูลทางวิชาการด้านน้ำบาดาลในระดับประเทศ
ภาครัฐ : ทบ. ทน. ทธ. สนทช. ชป. กปน. กปภ. กปร. ทหารช่าง สสน. GISTDA มูลนิธิชัยพัฒนา
ภาคเอกชน : สมาคมอุทกธรณีวิทยาแห่งประเทศไทย (HAT), สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย, สมาคมธรณีฯ, สภาวิศวกรรมฯ, สมาคมอุทกวิทยาไทย
สถาบันการศึกษา : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีสุรนารี, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, มหาวิทยาลัยขอนแก่น, มหาวิทยาลัยมหิดล, AIT
ลงทะเบียน | 22 กรกฏาคม 2566 |
---|---|
วันที่ส่งบทคัดย่อ | 22 กรกฏาคม 2566 |
วันสิ้นสุดการส่งบทคัดย่อ | 23 สิงหาคม 2566 |
ประกาศรายชื่อผู้ผ่านการพิจารณาผล | ภายใน 31 สิงหาคม 2566 |
วันประชุมวิชาการน้ำบาดาลแห่งชาติ | 20-22 กันยายน 2566 |
Groundwater has become a vital resource for social, economic and environmental development and sustainability for over the past few decades. Moreover, the challenges from climate change, ongoing covid -19 and global uncertainties make people more and more reliant on groundwater in order to maintain well-being, livelihoods, ecosystems, industries, agriculture and urban development. Currently, more than one-third of the world’s population depends on groundwater as a primary source of drinking water and this number is set to rise substantially over the next few decades. As such, groundwater remains a valuable natural resource and an essential component of the hydrologic system.
Therefore, given the importance of this resource to our collective futures, groundwater development should be carefully managed to make full benefit of its potential, to protect its quality and to guard against over-exploitation of the aquifers. More importantly, it is in all of our interests to develop a sound, quantitative knowledge of groundwater resources worldwide.
The 1st Thailand Groundwater Symposium: Key to Water Security and Sustainability will be hosted by the Department of Groundwater Resources (DGR), Ministry of Natural Resources and Environment and Groundwater Development Fund. It aims to provide participants with opportunities to share their experiences, research findings, innovation and technology regarding groundwater-related issues, and to serve as an international platform for leading researchers, policy makers, practitioners and private executives to identify common and emerging issues, hotspots and opportunities in groundwater management, as well as to discuss how to further build the coalition.
It is our pleasure to announce that the 1st Thailand Groundwater Symposium: Key to Water Security and Sustainability will be held in Thailand (22 - 26 August 2022). The Symposium comprises of a three-day oral and poster presentation program (22 - 24 August 2022) and a two-day excursion at Kanchanaburi Province (25 - 26 August 2022). The main theme of this symposium is “Groundwater: Key to water security and sustainability”.
A list of tentative topics includes:
Groundwater Development Technology
Novel Approaches on GW Exploration and Assessment
Hydrogeological Mapping and Data Visualization Techniques
Innovations in Groundwater Remediation, Protection and Conservation
Innovations in Groundwater Flow and Transport Modelling
Groundwater Modelling and Management
Groundwater Monitoring – New Approaches
Managed Aquifer Recharge
Groundwater Security and Sustainability
Groundwater Systems under Climate Change
Technology and Strategies for Sustainable Use of Groundwater
Groundwater-surface water interaction. Towards Integrated water Resources Management
Groundwater Quality and Quantity Management
Groundwater – Food – Energy Nexus
Groundwater and Dependent Ecosystems
Transboundary Aquifer
Groundwater Governance
Participation and Community Engagement in Groundwater Management
Groundwater and Poverty Reduction
Groundwater Economics
Registration | 23 May 2022 |
Abstract Submission | 23 May 2022 |
Abstract Submission deadline | 24 June 2022 |
Notification to Authors | Within 8 July 2022 |
Symposium Date | 22 - 24 August 2022 |
Field Trip (Limited for 80 seats) | 25 - 26 August 2022 |
Everyone who is interested in joining THE 1st THAILAND GROUNDWATER SYMPOSIUM 2022 in Bangkok and the excursions in Kanchanaburi, please register on both registration menu.